โดย ภาวนา อร่ามฤทธิ์ | พ.ค. 27, 2023 | บทความวิชาการ
ให้มือถือ คือให้ยาพิษแก่ลูกปฐมวัย โดยเฉพาะก่อน 2 ขวบ เมื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนโลก สื่อดิจิทัลดึงดูดพ่อแม่จำนวนมากเข้าไปใช้เวลาในโลกออนไลน์ จนพูดได้ว่า พ่อแม่มีชีวิต แต่ไม่ได้เลี้ยงดูลูก ยิ่งไปกว่านั้น...
โดย ภาวนา อร่ามฤทธิ์ | พ.ค. 27, 2023 | บทความวิชาการ
พัฒนาการปฐมวัยไม่ใช่การเร่งเรียนเขียนอ่าน เด็กปฐมวัยในประเทศไทยได้รับบริการการศึกษาในระบบค่อนข้างทั่วถึง (แม้ว่าเด็กปฐมวัยในกรุงเทพฯที่มีอายุ 3-5 ปีจะเข้าถึงระบบการศึกษาได้น้อยที่สุดในประเทศไทย ก็ยังมีอัตราการเข้าสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาลประมาณ 71%)...
โดย ภาวนา อร่ามฤทธิ์ | พ.ค. 27, 2023 | บทความวิชาการ
การสำรวจภาวะถดถอย (Learning Loss) ในเด็กอนุบาล 3 – ป.1 หลังสถานการณ์โควิด พบว่าเด็กไม่มีความรู้พอที่จะเรียนในชั้นต่อไป มีงานวิจัยพบว่าในช่วงสถานการณ์โควิดดังกล่าว เด็กปฐมวัยมีการเรียนรู้เพียง 10% เมื่อเทียบกับสถานการณ์ปกติ...
โดย ภาวนา อร่ามฤทธิ์ | พ.ค. 27, 2023 | บทความวิชาการ
เด็กไทยมีภาวะซึมเศร้าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเริ่มซึมเศร้าตั้งแต่อายุน้อยลงเรื่อย ๆ ในการสำรวจเด็ก ป. 4-6 ในกรุงเทพฯ เมื่อ 2 ปีที่ผ่านมา โดยใช้แบบสอบถามคัดกรองภาวะซึมเศร้าของเด็ก (Children Depression Inventory: CDI)...
โดย ภาวนา อร่ามฤทธิ์ | พ.ค. 27, 2023 | บทความวิชาการ
โลกรอบตัวซับซ้อนและรุนแรง ลูกจะเอาตัวรอดได้อย่างไร ในช่วงกว่า 10 ปีนี้ เด็กไทยรุ่นใหม่ (Alpha Generation) ที่เกิดมา ส่วนใหญ่เป็นลูกคนเดียว ซึ่งถูกเลี้ยงดูแบบประคบประหงม แม้เด็กที่เกิดในครอบครัวยากจน (สนง.สถิติแห่งชาติ ระบุว่าพ่อแม่ของเด็กวัยนี้ 42.3%...