แบบสอบถามความรู้ ความเข้าใจในพ่อแม่ ผู้ปกครอง เกี่ยวกับสถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิด แบบสอบถามความรู้ ความเข้าใจในกลุ่มพ่อแม่ ผู้ปกครอง เกี่ยวกับสถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิดส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คำชี้แจง : โปรดทำเลือก และกรอกข้อมูลของท่านตามความเป็นจริงข้อมูลของผู้ปกครอง 1. เพศ ชาย หญิง2. อายุ / ปี3. ระดับการศึกษา ต่ำกว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. ปวส. ปริญญาตรี/เทียบเท่า ปริญญาโท ปริญญาเอก4. อาชีพ ข้าราชการ/พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เกษตรกร ประกอบธุรกิจส่วนตัว อื่นๆ (ระบุ).............อื่นๆ ( 4 ).............5. ความสัมพันธ์กับเด็ก บิดา มารดา พี่/น้อง ร่วมบิดามารดาเดียวกัน ญาติ (ปู่ย่า ตายาย ลุงป้า น้าอา) ผู้เลี้ยงดู (พี่เลี้ยง) อื่นๆ (ระบุ).............อื่นๆ ( 5 ).............ข้อมูลเด็ก 6. เพศ ชาย หญิง7. อายุของบุตร/หลาน……………..ปี8. ระดับชั้นเรียน ยังไม่ได้เข้าศูนย์เด็ก/โรงเรียน เตรียมอนุบาล อนุบาล อื่นๆ (ระบุ)............................อื่นๆ ( 8 ).............ข้อมูลการรับรู้สื่อ 9. ท่าน รับทราบ “ข้อมูลสถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิด” ผ่านสื่อประเภทใด E-book บทความ วีดีโอ อินโฟกราฟิก คู่มือฟื้นฟูพัฒนาการเด็กปฐมวัยหลังโควิด อื่น ๆ ระบุอื่นๆ ( 9 ).............10. ท่าน รับทราบ “ข้อมูลสถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิด” ผ่านสื่อประเภทใด E-book บทความ วีดีโอ อินโฟกราฟิก คู่มือฟื้นฟูพัฒนาการเด็กปฐมวัยหลังโควิด อื่น ๆ ระบุอื่นๆ ( 10 ).............11. ท่านคิดว่าการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านช่องทางสื่อประเภทใด มีผลต่อการรับรู้ ของท่านมากที่สุด เว็ปไซต์ www.ecd-covidrecovery.rlg-ef.com Facebook กลุ่มไลน์ (LINE Group) การแจกเอกสารเผยแพร่ เช่น แผ่นพับ คู่มือ อื่น ๆ ระบุอื่นๆ ( 11 ).............-------------------------------------------------------------------------------ส่วนที่ 2 ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ผลกระทบจากโควิด 19 ต่อเด็กปฐมวัย คำชี้แจง : โปรดเลือกคำตอบ ถูก ในข้อที่ท่านคิดว่าถูกต้อง หรือ เลือกคำตอบ ผิด ในข้อที่ท่านคิดว่าผิด1. ช่วงโควิดระบาด ส่งผลให้เด็กกินนอนไม่เป็นเวลา เล่นมือถือมาก เกิดพฤติกรรมเนือยนิ่งมากขึ้น ถูก ผิด2. ช่วงโควิดระบาด "ไม่ได้ส่งผล" ทำให้เด็กขาดการเล่น หรือการทำกิจกรรมกลางแจ้งที่จะส่งผลต่อสุขนิสัยของเด็กแต่อย่างใด ถูก ผิด3. ผลกระทบจากโควิดระบาด ทำให้มีเด็กติดเกม ติดจออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นก็จริง แต่ไม่ส่งผลระยะยาวต่อการมีแนวโน้มพฤติกรรมก้าวร้าว หรือการปรับตัวยาก ถูก ผิด4. การที่เด็กต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ และการได้รับออกซิเจนที่จะเข้าไปเลี้ยงสมอง ถูก ผิด5. การที่เด็กถูกกักตัว แยกจากพ่อแม่ผู้ดูแลในช่วงที่เด็กติดเชื้อหรือผู้ดูแลติดเชื้ออาจมีผลกระทบต่อจิตใจของเด็ก ทำให้เด็กเล็กเครียด หวาดกลัว มีความฝังใจระยะยาว ถูก ผิด6. เด็กที่เครียดยาวนานถึง 2 ปีจากความรุนแรงในครอบครัวที่เพิ่มขึ้น บำบัดแก้ไขได้ยาก ถูก ผิด7. การที่เด็กมีภาวะเครียดสะสม ทำให้สมองถูกทำร้าย ถูก ผิด8. การที่เด็กไม่ได้พบ และเล่นกับเพื่อนในช่วงโควิดไม่ส่งผลต่อพัฒนาการ และการเติบโตของเด็ก เพราะเด็กมีทักษะทางสังคมต่ำ จะเป็นเด็กที่เชื่อมั่นในตนเองสูง ถูก ผิด9. พ่อแม่ ผู้ปกครอง "ไม่จำเป็นต้อง" ให้ความสำคัญในการอบรมเลี้ยงดูหรือปลูกฝังวินัยในเด็กอายุ 1-6 ปี เพราะถือว่ายังเด็กเกินไป ถูก ผิด10. เพื่อฟื้นฟูพัฒนาการเด็กปฐมวัยหลังโควิด ต้องเร่งฟื้นฟูด้านจิตใจให้เบิกบานแจ่มใสมากกว่าเร่งเรียนเขียนอ่าน ถูก ผิด-------------------------------------------------------------------------------ส่วนที่ 3 ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิด 19 คำชี้แจง : โปรดเลือกคำตอบ ถูก ในข้อที่ท่านคิดว่าถูกต้อง หรือ เลือกคำตอบ ผิด ในข้อที่ท่านคิดว่าผิด1. "จะต้อง" เร่งเรียนเขียนอ่านเพื่อฟื้นฟูการเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัย เนื่องจากเด็กไม่ได้ไปโรงเรียนช่วงโควิดระบาด เป็นเวลานาน ถูก ผิด2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง"ควรเน้น" ให้เด็กมีความสุขสนุก ได้ทำกิจกรรมหลากหลาย หรือได้เล่นกับเพื่อนให้มากที่สุด เพื่อฟื้นฟูสภาพจิตใจให้เบิกบาน ถูก ผิด3. พ่อแม่ ผู้ปกครอง "ควรเพิ่ม" การอ่านนิทาน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษา ทักษะสมอง EF จินตนาการ และเพิ่มความสุขให้แก่เด็ก ถูก ผิด4. พ่อแม่ ผู้ปกครองควรมุ่งสร้างวินัยในชีวิตประจำวัน ให้เด็กกำกับตนเองได้ กิน นอน เล่น เป็นเวลา ถูก ผิด5. พ่อแม่ "ยังไม่ควร" ให้เด็กได้ช่วยเหลือตนเอง หรือให้เด็กดูแลของใช้ส่วนตัว ควรให้การช่วยเหลือเด็กไปก่อน เพราะยังเล็กอยู่ ถูก ผิด-------------------------------------------------------------------------------ข้าพเจ้ามีความประสงค์ในการให้ข้อมูลติดต่อ เพื่อร่วมกิจกรรมลุ้นรับของรางวัล **โครงการฯ ขอสงวนสิทธิ์พิจารณาให้สิทธิลุ้นรับของรางวัลสำหรับผู้กรอกข้อมูลครบถ้วนเท่านั้นข้าพเจ้ามีความประสงค์ในการให้ข้อมูลติดต่อ ใช่ชื่อนามสกุลอีเมล์หมายเลขโทรศัพท์ที่อยู่สำหรับจัดส่งของรางวัล ***ในกรณีที่ท่านได้รัรางวัลบ้านเลขที่ ซอย ถนน ตำบล/แขวงอำเภอ/ เขตจังหวัดรหัสไปรษณีย์ส่งคำตอบ โดยความร่วมมือของคณะอนุกรรมการสื่อเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัย มูลนิธิเพื่อการฟื้นฟูเด็กและครอบครัว(ฟอร์เด็ก) เลขที่ 1035/7-10 อาคารบ้านฝันคอนโดวิลล์ ชั้น 1 ถนนศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ : 0-2721-2983 โทรสาร : 0-2721-2985 ถูกอ่านแล้ว: 10