แบบสอบถามความรู้ ความเข้าใจในกลุ่มครู / ผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับสถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิด แบบสอบถามความรู้ ความเข้าใจในกลุ่มครู ผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับสถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิดส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คำชี้แจง : โปรดทำเลือก และกรอกข้อมูลของท่านตามความเป็นจริงข้อมูลของผู้ปกครอง 1. เพศ ชาย หญิง2. อายุ / ปี3. ระดับการศึกษา ต่ำกว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. ปวส. ปริญญาตรี/เทียบเท่า ปริญญาโท ปริญญาเอก4. ดูแลเด็ก อายุระดับใด 0-2 ปี 2-3 ปี 3-4 ปี 4-5 ปี 5-6 ปี5. หน่วยงานต้นสังกัด สพฐ. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (ศพด.) อื่นๆ (ระบุ).............อื่นๆ ( 5 ).............6. ท่าน รับทราบ “ข้อมูลสถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิด” ผ่านสื่อประเภทใด E-book บทความ วีดีโอ อินโฟกราฟิก คู่มือฟื้นฟูพัฒนาการเด็กปฐมวัยหลังโควิด อื่น ๆ ระบุอื่นๆ ( 6 ).............7. ท่านคิดว่าการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการพัฒนาเด็กปฐมวัย "ผ่านสื่อประเภทใด" มีผลต่อการรับรู้ของท่านมากที่สุด E-book บทความ วีดีโอ อินโฟกราฟิก คู่มือฟื้นฟูพัฒนาการเด็กปฐมวัยหลังโควิด อื่น ๆ ระบุอื่นๆ ( 7 ).............8. ท่านคิดว่าการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการพัฒนาเด็กปฐมวัย "ผ่านช่องทางสื่อประเภทใด" มีผลต่อการรับรู้ ของท่านมากที่สุด เว็ปไซต์ www.ecd-covidrecovery.rlg-ef.com Facebook กลุ่มไลน์ (LINE Group) การแจกเอกสารเผยแพร่ เช่น แผ่นพับ คู่มือ อื่น ๆ ระบุอื่นๆ ( 8 ).............-------------------------------------------------------------------------------ส่วนที่ 2 ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ผลกระทบจากโควิด 19 ต่อเด็กปฐมวัย คำชี้แจง : โปรดเลือกคำตอบ ถูก ในข้อที่ท่านคิดว่าถูกต้อง หรือ เลือกคำตอบ ผิด ในข้อที่ท่านคิดว่าผิด1. ช่วงโควิดระบาด ส่งผลให้เด็กกินนอนไม่เป็นเวลา เล่นมือถือมาก เกิดพฤติกรรมเนือยนิ่งมากขึ้น ถูก ผิด2. ช่วงโควิดระบาด "ไม่ได้ส่งผล" ทำให้เด็กขาดการเล่น หรือการทำกิจกรรมกลางแจ้งที่จะส่งผลต่อสุขนิสัยของเด็กแต่อย่างใด ถูก ผิด3. ผลกระทบจากโควิดระบาด ทำให้มีเด็กติดเกม ติดจออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นก็จริง แต่ไม่ส่งผลระยะยาวต่อการมีแนวโน้มพฤติกรรมก้าวร้าว หรือการปรับตัวยาก ถูก ผิด4. การที่เด็กต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ และการได้รับออกซิเจนที่จะเข้าไปเลี้ยงสมอง ถูก ผิด5. การที่เด็กถูกกักตัว แยกจากพ่อแม่ผู้ดูแลในช่วงที่เด็กติดเชื้อหรือผู้ดูแลติดเชื้อ "อาจมีผลกระทบ" ต่อจิตใจของเด็ก ทำให้เด็กเล็กเครียด หวาดกลัว มีความฝังใจระยะยาว ถูก ผิด6. เด็กที่เครียดยาวนานถึง 2 ปีจากความรุนแรงในครอบครัวที่เพิ่มขึ้น บำบัดแก้ไขได้ยาก ถูก ผิด7. การที่เด็กมีภาวะเครียดสะสม ทำให้สมองถูกทำร้าย ถูก ผิด8. การที่เด็กไม่ได้พบ และเล่นกับเพื่อนในช่วงโควิด "ไม่ส่งผล" ต่อพัฒนาการ และการเติบโตของเด็ก เพราะเด็กมีทักษะทางสังคมต่ำ จะเป็นเด็กที่เชื่อมั่นในตนเองสูง ถูก ผิด9. ครู "ไม่จำเป็นต้อง" ให้ความสำคัญในการอบรมเลี้ยงดูหรือปลูกฝังวินัยในเด็กอายุ 1-6 ปี เพราะถือว่ายังเด็กเกินไป ถูก ผิด10. เพื่อฟื้นฟูพัฒนาการเด็กปฐมวัยหลังโควิด ต้องเร่งฟื้นฟูด้านจิตใจให้เบิกบานแจ่มใสมากกว่าเร่งเรียนเขียนอ่าน ถูก ผิด-------------------------------------------------------------------------------ส่วนที่ 3 ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการฟื้นฟูเด็กปฐมวัยหลังสถานการณ์โควิด 19 คำชี้แจง : โปรดเลือกคำตอบ ถูก ในข้อที่ท่านคิดว่าถูกต้อง หรือ เลือกคำตอบ ผิด ในข้อที่ท่านคิดว่าผิด1. "จะต้อง" เร่งเรียนเขียนอ่านเพื่อฟื้นฟูการเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัย เนื่องจากเด็กไม่ได้ไปโรงเรียนช่วงโควิดระบาด ถูก ผิด2. ช่วงหลังสถานการณ์โควิดระบาด ครูควรต้องสังเกต และเข้าใจอารมณ์เด็ก เพื่อตอบสนองพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกได้อย่างเหมาะสม ถูก ผิด3. ไม่จำเป็นที่ครูจะต้องให้ความสำคัญกับการคัดกรองภาวะถดถอยทางพัฒนาการหลังโควิด เป็นรายบุคคล หรือเป็นกรณีพิเศษ ถูก ผิด4. ครูควรเน้นการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning ให้เด็กได้ลงมือทำ ได้เคลื่อนไหว จัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านที่ถดถอย ถูก ผิด5. ครูจำเป็นต้องสร้างความร่วมมือกับผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดการฟื้นฟูพัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็ก ให้สอดคล้องกันทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน ถูก ผิด-------------------------------------------------------------------------------ข้าพเจ้ามีความประสงค์ในการให้ข้อมูลติดต่อ เพื่อร่วมกิจกรรมลุ้นรับของรางวัล **โครงการฯ ขอสงวนสิทธิ์พิจารณาให้สิทธิลุ้นรับของรางวัลสำหรับผู้กรอกข้อมูลครบถ้วนเท่านั้น ข้าพเจ้ามีความประสงค์ในการให้ข้อมูลติดต่อ ใช่ชื่อนามสกุลอีเมล์หมายเลขโทรศัพท์ที่อยุ่สำหรับจัดส่งของรางวัล ***ในกรณีที่ท่านได้รับรางวัลบ้านเลขที่ ซอย ถนน ตำบล/แขวงอำเภอ / เขตจังหวัดรหัสไปรษณีย์ส่งคำตอบ โดยความร่วมมือของคณะอนุกรรมการสื่อเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัย มูลนิธิเพื่อการฟื้นฟูเด็กและครอบครัว(ฟอร์เด็ก) เลขที่ 1035/7-10 อาคารบ้านฝันคอนโดวิลล์ ชั้น 1 ถนนศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ : 0-2721-2983 โทรสาร : 0-2721-2985 ถูกอ่านแล้ว: 22